รู้จัก ภาวะ MIS-C ในเด็ก หนึ่งในผลพวงจากโควิด-19
ผลพวงจากโควิด-19 ที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กที่ผู้ปกครองต้องให้ความสำคัญ
ผลพวงจากโควิด-19 ที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กที่ผู้ปกครองต้องให้ความสำคัญ
เรื่องน่ารู้ของพ่อแม่มือใหม่! เบบี๋กลุ่มเสี่ยงไม่ใช่ปัญหาหากรู้จักวิธีการเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการที่ถูกต้อง
ช่วงหน้าฝนทำให้อากาศเปลี่ยนแปลง สุขภาพของเด็กทารกน้อยควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษ รวมทริคดูแลเบบี๋ให้แข็งแรงห่างไกลไข้หวัด
สถานการณ์ยังน่าเป็นห่วง เมื่อวัยเด็กเล็กเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ติดเชื้อโควิด-19 จากคนใกล้ชิดมากที่สุด
กลุ่มเด็กปฐมวัย 0-5 ปี เป็นช่วงการส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการสมวัย สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 อาจส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็ก ซึ่งเกิดจากความไม่พร้อมด้วยปัจจัยต่าง ๆ
วัยเบบี๋เป็นวัยที่พ่อแม่ต้องพาไปพบแพทย์บ่อยครั้งด้วยหลายเหตุผล อาทิ เช็คสุขภาพ ฉีดวัคซีนต่าง ๆ ทำให้เกิดความกังวลว่าอาจเสี่ยงติดโควิดได้ คำถามคือเมื่อไหร่ที่ควรพาเบบี๋ไปพบแพทย์?
เมื่อเด็กอายุมากขึ้น การให้นมแม่อย่างเดียวย่อมไม่พอเพียงต่อการเจริญเติบโตของทารก อย่างไรก็ตาม การเริ่มให้อาหารอื่นเร็วเกินไปอาจส่งผลเสียได้เช่นกัน ฉะนั้น สิ่งที่ต้องโฟกัสคือ ความพร้อมของระบบต่าง ๆ ในร่างกายเบบี๋
เด็กเกิดมาพร้อมด้วยเซลล์สมองจำนวนมากมาย แต่สมองจะเจริญเติบโตได้และทำงานได้ดีก็ต่อเมื่อมีการพัฒนาของการเชื่อมต่อระหว่างเซลล์สมอง และการพัฒนาวงจรปฏิกิริยาของสารเคมีในสมอง เซลล์สมองจะเริ่มทำงานต่อเมื่อได้รับการกระตุ้น แต่ต้องเป็นการกระตุ้นที่ถูกต้องและกระตุ้นในช่วงเวลาที่เหมาะสมเท่านั้น
เด็กกลุ่มเสี่ยง หมายถึง ทารกแรกเกิดที่ขาดออกซิเจน และ/หรือ มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เด็กกลุ่มนี้มีความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาความบกพร่องทางสติปัญญา พัฒนาการที่ล่าช้า ปัญหาการเรียนรู้ และอาจเกิดความพิการทางสมอง การได้รับการค้นพบและแก้ไขโดยทันทีจะช่วยลดปัญหาได้
อากาศในประเทศไทยมาถึงจุดพีค เรียกว่าร้อนตับแตกกันเลยทีเดียว ไม่แปลกที่พ่อแม่ที่มีลูกน้อยวัยเบบี๋จะประสบปัญหาเจ้าตัวเล็กงอแงเป็นพิเศษ โดยเฉพาะในเวลานอน เนื่องจากน้องไม่สบายตัวจากสภาพอากาศที่ร้อนจัด อยากให้เบบี๋หลับสบายไม่งอแง เรามีทริคดี ๆ มาฝาก