4 ประเภทอาหาร ตัวช่วยลด-ละ-เลิกบุหรี่ด้วยการกิน
เริ่มต้นลด ละ เลิกสูบบุหรี่ จากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้การบำบัดด้วยการกินอาหารที่ช่วยลดความอยากบุหรี่ลง
เริ่มต้นลด ละ เลิกสูบบุหรี่ จากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้การบำบัดด้วยการกินอาหารที่ช่วยลดความอยากบุหรี่ลง
สถานการณ์การสูบบุหรี่ในปัจจุบันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ พบจำนวนผู้สูบบุหรี่ทั่วโลกเพิ่มขึ้นมากกว่า 1.68 พันล้านคน อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่เพิ่มขึ้นเป็น 10 ล้านคน เรียกได้ว่า บุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้สูบและบุคคลใกล้เคียง ฉะนั้น หากมีสมาชิกในบ้านสูบบุหรี่ ย่อมส่งผลกระทบต่อสุขภาพของทุกคนในครอบครัว
รู้ไหมว่าคอเลสเตอรอลก็มีความสัมพันธ์กับช่วงวัยของคนเราเหมือนกัน โดยเฉพาะเมื่ออายุมากขึ้นก็มักจะเกิดปัญหาเกี่ยวกับคอเลสเตอรอลได้ง่าย ทั้งนี้คอเลสเตอรอลจะมีผลต่อสุขภาพและเปลี่ยนไปตามช่วงวัยอย่างไร ก็ต้องมาทำความเข้าใจกันเลย
คอเลสเตอรอลเป็นปัญหาสุขภาพที่พบได้บ่อยมากและมีความเสี่ยงสูง ดังนั้นมาเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ของตัวเองเพื่อให้ห่างไกลจากปัญหาคอเลสเตอรอลสูงกันดีกว่า ซึ่งจะเปลี่ยนอย่างไรดีนั้น
คอเลสเตอรอลสูงคืออะไร? คอเลสเตอรอลเป็นสารไขมันที่ไหลเวียนอยู่ในเลือด ร่างกายสร้างคอเลสเตอรอลและเราได้รับส่วนที่เหลือจากอาหารที่กิน
ความดันโลหิตสูง เป็นอีกหนึ่งโรคที่ได้รับฉายาว่า “นักฆ่าเงียบ” เพราะมันเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหาสุขภาพในหลายๆ ด้าน ทั้งยังเป็นเงื่อนไขที่นำไปสู่โรคร้ายแรงอีกมากมาย และบ่อยครั้งที่มักถูกละเลยในคนอายุ 20-30 ปี หรือเด็กกว่านั้น โดยสาเหตุหลายส่วนมาจากพฤติกรรมการกิน ปัญหาน้ำหนักเกินและอายุที่เพิ่มมากขึ้น
ในประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากบุหรี่ต่อปีประมาณ 5 หมื่นคน ซึ่งตัวเลขนี้ยังไม่รวมผู้ที่เจ็บป่วยและทนทุกข์ทรมานจากโรคร้ายต่างๆ อีกนับไม่ถ้วน เรียกว่า การสูบบุหรี่เป็นตัวต้นเหตุที่นำไปสู่อันตรายต่อสุขภาพร่างกาย ว่าแล้วเราก็มาเจาะลึกถึงผลกระทบต่อสุขภาพอันมีสาเหตุจาก 8 สารพิษหลักใน “บุหรี่” กันค่ะ
หลายคนที่เฮียรู้จักมักให้เหตุผลในการสูบบุหรี่ไว้ว่า… “คลายเครียด” ซึ่งส่วนนี้เฮียเองก็ยังไม่เคยเห็นงานวิจัยหรือการศึกษาใดๆ ออกมาพูดถึงเรื่องประโยชน์ของการสูบบุหรี่ แต่ถ้าพูดเรื่องพิษของมันแล้วล่ะก็ บอกเลยว่าเพียบ!
แม้จะทราบกันดีถึงอันตรายของบุหรี่ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายของผู้สูบและคนรอบข้างแต่สิงห์อมควันหลายคนยังคงไม่ยอมเลิกสูบ แถมยังเสาะหาสารพัดข้ออ้างเพื่อบอกตัวเองว่าจะช่วยให้อันตรายจากการสูบบุหรี่ลดน้อยลง หนึ่งในความเชื่ออย่างผิด ๆ ยอดฮิตของบรรดาสิงห์อมควันก็คือสูบบุหรี่แต่น้อย ไม่เป็นอันตราย??
เป็นภัยใกล้ตัวที่หลายคนมองข้าม สำหรับการสูบบุหรี่ หลายคนสูบเพราะคิดว่าช่วยแก้เครียดได้ ทั้งที่ก็ไม่มีข้อพิสูจน์ได้ว่าเจ้านิโคตินอัดแท่งนี้ช่วยผ่อนคลายความเครียดได้จริงหรือไม่ แต่ข้อเท็จจริงที่พิสูจน์ได้อย่างแน่นอนคือ ในบุหรี่มีสารเคมีเป็นพิษมากกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งทำให้ผู้สูบไปจนถึงผู้ได้รับควันบุหรี่เสี่ยงเป็นโรคมะเร็งหลายชนิด