Tag Archives: Office syndrome

WFH ทำพิษ! นั่งนาน-นั่งไม่ถูกวิธี เสี่ยงป่วยออฟฟิศซินโดรม

จากนโยบายทำงานที่บ้าน หรือ Work From Home อาจก่อให้เกิด โรคออฟฟิศซินโดรม ตามมาได้ เนื่องจากอุปกรณ์สำนักงานในบ้านอาจไม่เพียงพอ ไม่เหมาะกับสรีระ หรือลักษณะการนั่งไม่ถูกวิธี

2 วิธีกดจุดลดอาการไหล่ตึงแบบได้ผล ในเวลาไม่กี่นาที!

ไหล่ตึง หลายคนที่ทำงานอยู่หน้าจอตลอดเวลาอาจมีอาการนี้ ซึ่งเป็นหนึ่งในอาการของกลุ่มออฟฟิศซินโดรม จากบทความเรื่อง 6 วิธีปรับพฤติกรรมเพื่อห่างไกล “ออฟฟิศซินโดรม” ได้บอกถึงแนวทางช่วยให้เราลดเสี่ยงเป็นออฟฟิศซินโดรม

เมื่อยล้าคอ บ่า ไหล่ เหนื่อยง่ายอยู่หรือเปล่า? รู้จัก “วิตามินบี 1” อีกทางเลือกสุดเวิร์คของคนเป็นออฟฟิศซินโดรม

เริ่มต้นมาจากกล้ามเนื้อของเราที่มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา จึงเป็นส่วนที่ต้องการพลังงานมากที่สุด ซึ่งพลังงานดังกล่าวนั้นมีชื่อเรียกว่า Adenosine Trisphosphate หรือ ATP โดยได้มาจากการทำงานของวิตามินบี 1 เป็นตัวช่วยสำคัญ

4 ข้อเช็คตัวเอง ก่อนเป็น Office Syndrome อย่างสมบูรณ์

อาการของออฟฟิตซินโดรมเป็นอะไรที่ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อยจริง ๆ หากใครที่ไม่อยากเข้าข่ายป่วยเป็นโรคนี้คุณควรเริ่มสังเกตอาการของตนเองได้แล้ว แล้วอาการที่เข้าข่ายเสี่ยงต่อการป่วยมีอะไรบ้างวันนี้เราจะมาบอกคุณให้ทราบด้วยตัวเราเองที่นี่กันเลย

6 วิธีปรับพฤติกรรมเพื่อห่างไกล “ออฟฟิศซินโดรม”

อาการบาดเจ็บที่เกิดจากการทำงานในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็น ปวดคอ บ่า ไหล่ หลัง เป็นผลมาจากการทำงานต่อเนื่องเป็นเวลานาน ประกอบกับความเร่งรีบต่างๆ บางครั้งทำให้ต้องอดอาหาร อดนอน หรือนอนดึก เมื่อบวกกับความเครียดและกดดันจากการทำงาน ล้วนเป็นสาเหตุให้เกิด “ภาวะออฟฟิศซินโดรม” ได้

4 ท่า “นอน” ก็ช่วยลดปวดหลังได้

การนั่งเป็นเวลานานจะทำให้กล้ามเนื้อแข็งและอาจทำให้เกิดอาการปวดเมื่อยหลังส่วนล่าง ซึ่งวิธีแก้ที่ดีที่สุดก็คือ การออกกำลังกายและพยายามลุกเดินบ้าง

“ออฟฟิศซินโดรม” โรคสุดฮิตของคนทำงาน!!

ยกให้เป็นกลุ่มอาการยอดนิยมของคนทำงานออฟฟิศ ที่วันๆ เอาแต่นั่งทำงานหน้าคอมพิวเตอร์ติดต่อกันนานๆ แทบจะไม่ได้ขยับร่างกายไปไหน นำไปสู่อาการกล้ามเนื้ออักเสบ ปวดเมื่อยหลัง ไหล่ คอ บ่า แขน ข้อมือ ที่น่ากลัวก็คือ หากไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเหล่านี้ อาจนำไปสู่อาการหมอนรองกระดูกเสื่อม หรือหมอนรองกระดูกกดทับเส้นประสาทได้

3 อาการ สัญญาณบอกเสี่ยงป่วยโรคออฟฟิศซินโดรม

สภาพแวดล้อมในที่ทำงานไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการนั่งทำงานตลอดเวลา ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้อ บางรายที่มีอาการของหมอนรองกระดูกเคลื่อนอยู่แล้ว หากทำงานในอริยาบทที่ผิดจะทำให้มีอาการรุนแรงมากขึ้น