6 สาเหตุทางร่างกาย ที่มีอิทธิพลต่อความผิดปกติทางจิต
3 สาเหตุใหญ่ๆ ที่มีอิทธิพลต่อความผิดปกติทางจิต ได้แก่ สาเหตุทางร่างกาย สาเหตุทางจิตใจ และสาเหตุจากสิ่งแวดล้อม ในบทความนี้จะโฟกัสไปที่ สาเหตุทางร่างกาย
3 สาเหตุใหญ่ๆ ที่มีอิทธิพลต่อความผิดปกติทางจิต ได้แก่ สาเหตุทางร่างกาย สาเหตุทางจิตใจ และสาเหตุจากสิ่งแวดล้อม ในบทความนี้จะโฟกัสไปที่ สาเหตุทางร่างกาย
เชื่อว่ามีหลายคนสับสนระหว่างโรคจิตกับโรคประสาท ไม่แน่ใจว่ามีความหมายเหมือน หรือต่างกันอย่างไร บทความนี้มีคำตอบต่อคำถามที่ว่า สองคำนี้ ต่างกันหรือไม่? อย่างไร?
ในชีวิตนี้ทุกคนต่างก็ต้องเคยพบกับความทุกข์ ความเศร้า ความเครียด บางครั้งหนักหนาสาหัสจนไม่อยากมีชีวิตอยู่ หลายคนอาจมีอาการหลุดๆหรืออาจต้องพึ่งจิตแพทย์ได้แล้ว แต่จะรู้ได้อย่างไรว่าคุณกำลังไม่ไหว และนี้คือสัญญาณเตือน
หลาย ๆ คนไม่กล้าหรือไม่อยากจะไปพบผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาสุขภาพจิต เพราะรู้สึกไม่ดีต่อการเข้ารับการบำบัด ซึ่งอันที่จริงแล้วกระบวนการบำบัดเป็นวิธีที่ให้ความช่วยเหลือผู้คนได้อย่างแท้จริง และไม่มีความแตกต่างกับการไปพบแพทย์ที่ทำการรักษาโรคอื่นๆ เลยนะ ซึ่งเหตุผลต่อไปนี้จะทำให้เราเข้าใจกระบวนการรักษาด้วยการบำบัดได้มากขึ้น
โรคทางจิตเวชเป็นโรคเรื้อรังและเป็นโรคทางสมองอย่างหนึ่ง ที่ทำให้ผู้ป่วยควบคุมตนเองได้ไม่ดี ฉะนั้นนอกจากการไปพบแพทย์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอแล้ว ปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ผู้ป่วยดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข ลดความเสี่ยงที่จะทำให้อาการกำเริบ คือการดูแลด้วยเข้าใจอย่างถูกวิธีจากครอบครัวหรือคนรอบข้าง
ปัจจุบันมีคนจำนวนไม่น้อยที่ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องโรคทางจิตเวชอยู่ ภาพในหัวของหลายๆ คนยามนึกถึงผู้ป่วยโรคจิตเภท คือ คนที่เดี๋ยวดี เดี๋ยวร้าย บางครั้งเหม่อลอย บางครั้งก็อาละวาด พูดจาไม่รู้เรื่อง ผมเผ้ารุงรัง เป็นต้น ซึ่งคนเหล่านี้มักถูกคนในสังคมเรียกด้วยความกลัวหรือหวาดผวาว่า “โรคจิต”
โรคจิตเภท เป็นโรคทางจิตเวชที่พบมากที่สุด ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้ป่วยจิตเภท 26 ล้านคน ร้อยละ 90 อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา ส่งผลให้ผู้ป่วยเข้าไม่ถึงการบำบัดรักษา สำหรับประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยโรคนี้มากกว่า 4 แสนราย แต่เข้าถึงการรักษาเพียงร้อยละ60 ทั้งที่โรคจิตเภทนี้เป็นโรคเรื้อรังที่สามารถรักษาได้
“วิกลจริต”หรือ “โรคจิต” (Psychosis)คือ ภาวะผิดปกติทางจิตที่มีความผิดปกติของความคิด อารมณ์ พฤติกรรมอย่างมากจนไม่อยู่ในโลกของความเป็นจริง ซึ่งผู้ป่วยมักจะไม่ยอมรับว่าตนเองป่วย โดย “โรคจิต” เป็นโรคกลุ่มเล็กๆ กลุ่มหนึ่งในกลุ่มโรคทางจิตเวชทั้งหมดที่มีหลายโรค
แต่สิ่งที่หลายคนคาดไม่ถึงก็คือการที่แม่อ้วนตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ กลับไปเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคจิต (Psychosis) ของลูกที่คลอดออกมาได้