Tag Archives: การใช้ยา

เคล็ดลับการให้ยาเบบี๋ พร้อมข้อควรระวังเมื่อใช้ยากับเด็ก

เมื่อลูกน้อยเจ็บป่วยหรือไม่สบายอาจต้องกินยาเพื่อรักษา นี่คือ เคล็ดลับการให้ยาเด็ก พร้อมข้อควรระวังเมื่อใช้ยากับเด็ก

ข้อควรรู้สำหรับการใช้ยาในเด็ก..ทำไมถึงต่างจากผู้ใหญ่?

การใช้ยาในการรักษาโรคจะปลอดภัยหรือไม่นั้น ขึ้นกับว่าใช้ยาอย่างถูกต้องหรือไม่ โดยเฉพาะการใช้ยาในเด็ก ที่ร่างกายยังเติบโตไม่เต็มที่ ระบบภูมิต้านทานยังทำงานได้ไม่เต็มที่ จึงต้องเพิ่มความระมัดระวังกว่าปกติ

ยา-สารเคมีที่แม่ท้องควรเลี่ยง ถ้าไม่อยากให้เบบี๋เสี่ยงผิดปกติ

แม่ท้องต้องใส่ใจกับยาและสารเคมีที่อาจส่งผลต่อลูกน้อยในครรภ์ คุณแม่ต้องอ่านฉลากและปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง

5 ข้อพึงระวังเพื่อการตั้งครรภ์อย่างปลอดภัย

ท่ามกลางสังคมในปัจจุบันที่มีปัญหารอบด้าน พ่อแม่มือใหม่อาจมีความกังวลใจอยู่ไม่น้อยกับการที่จะต้องเผชิญกับปัญหาอุปสรรคมากมายในการเป็นพ่อแม่มือใหม่ อย่าเพิ่งเครียดหรือคิดไปไกลค่ะ บางปัญหาเราสามารถป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้ ว่าแล้วมาเตรียมตัวแต่เนิ่นๆ เพื่อการตั้งครรภ์อย่างปลอดภัยกันค่ะ

“ยาอั้นอึ” หยุดอาการปวดไม่รู้เวลา ใช้ไม่ระวังอาจถึงชีวิต!

สร้างความฮือฮาในโลกออนไลน์ จนมีการแชร์ต่อๆ กันอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะผู้ที่ประสบปัญหาปวดอุจจาระไม่รู้จักเวล่ำเวลา กับโพสต์ของเจ้าของเฟซบุ๊ก Navarat Pradungson ที่เล่าถึงยาจากญี่ปุ่นที่เมื่อกินเข้าไปจะทำให้อาการปวดท้องอึหายไปในเวลาไม่ถึง 10 นาที แต่ขึ้นชื่อว่ายาย่อมต้องระวังในการใช้ค่ะ

“โรคยาทำ” ปัญหาจากการใช้ยาแบบผิดๆ ที่ส่งผลต่อสุขภาพ

“โรคยาทำ” เป็นคำที่มักใช้เรียกรวมๆ ถึงอาการเจ็บป่วยต่างๆ ที่เกิดมาจากยาที่ใช้เพื่อป้องกัน รักษา หรือบรรเทาโรคหรืออาการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง แต่กลับทำให้เกิดโรคหรืออาการเจ็บป่วยอีกอย่างหนึ่งตามมา รวมถึงอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาหรืออาการข้างเคียงจากการใช้ยาก็ได้

ทำความรู้จัก Ativan ยาคลายกังวลที่ส่งผลต่อสมอง

ยา “เอติแวน” เป็นยาระงับประสาทซึ่งช่วยลดอาการวิตกกังวลให้น้อยลงได้ แต่ก็มีผู้อ้างว่าการใช้ยานี้ก่อให้เกิดผลข้างเคียง จนนำไปสู่การเสียชีวิตได้ ซึ่งก็ทำให้เกิดข้อสงสัยว่าการใช้ยาชนิดนี้เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตายจริงหรือไม่ วันนี้เรามีคำตอบ มาฝากกัน

อันตราย! ผู้ป่วยกว่า 40% มีปัญหาใช้ยาไม่ถูกต้อง

“ยา”คือ วัตถุที่ใช้ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บของมนุษย์และสัตว์เพราะยาแต่ละชนิดมีสรรพคุณรวมถึงผลข้างเคียงที่แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อความปลอดภัย ควรอ่านฉลากและปฏิบัติตามคำนำของแพทย์หรือเภสัชกรอย่างเคร่งครัด ที่น่าตกใจ คือ จากผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยกว่า 40% มีปัญหาใช้ยาไม่ถูกต้อง

ระวัง!! ใช้ “ทีโอฟิลลีน” รักษาหวัด เสี่ยงอาการรุนแรง

จากกรณีมีผู้โพสต์ข้อความบนโซเซียลมีเดียว่า ช่วงนี้เจอคนไข้กินยาทีโอฟิลลีน แล้วใจสั่นเข้า ER เยอะมาก ส่วนใหญ่ซื้อยาจากร้านขายยา บอกเป็นหวัด เภสัชกรก็จัดยาชนิดนี้ให้ ทั้งที่ยาทีโอฟิลลีนเป็นยารักษาอาการหอบหืดไม่ใช่ยารักษาอาการหวัด อันตรายใกล้ตัวขนาดนี้อย่าปล่อยผ่าน ว่าแล้วมาเจาะลึกถึงยาทีโอฟิลลีนกันเถอะ