อายุเท่านี้ ควรนอนกี่ชั่วโมงดี? และวิธีช่วยนอนหลับได้มากขึ้น
ต้อนรับวันนอนหลับโลก นอนหลับอย่างไรให้สุขภาพดี เรามีคำแนะนำ
ต้อนรับวันนอนหลับโลก นอนหลับอย่างไรให้สุขภาพดี เรามีคำแนะนำ
แต่การจะนอนอย่างเต็มอิ่มได้นั้น บางทีเราก็ไม่รู้ตัวได้เลยว่า เรานอนอย่างเพียงพอแล้วหรือเปล่า รวมไปถึงอีกหนึ่งอาการที่น่าเป็นห่วงเพราะถือว่าเป็นภัยเงียบอย่าง “ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ” จากบทความเรื่อง บอกว่า
ไม่ว่าสังคมปัจจุบัน และไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไป อายุและความรับผิดชอบที่มากขึ้นจะนำทางเราไปสู่การนอนหลับน้อยลงแค่ไหน แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า “การนอน” จะสำคัญน้อยลงไปตามยุคสมัย
เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่า ร่างกายของเราต้องการนอนหลับพักผ่อน ทั้งนี้ก็เพื่อนการทำงานที่ดีที่สุดของระบบต่างๆ เพราะช่วงเวลาที่เราหลับนั้น ร่างกายจะรักษาและคืนสมดุลทางเคมี สมองของเราจะหล่อหลอมกับการเชื่อมต่อหน่วยความจำต่างๆ บ่อยครั้งที่เรานอนไม่พอจึงพบว่า เรามักหลงๆ ลืมๆ ได้อย่างง่ายดายแม้กับเรื่องที่ไม่ได้ยากต่อการจำนัก
การนอนหลับอย่างมีคุณภาพเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพของเรา เมื่อก่อนถ้าเราพูดถึงเรื่องของสุขภาพและการลดน้ำหนัก เราจะให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายและเลือกอาหารที่มีประโยชน์ แต่จริงๆ แล้ว “การนอน” นั้น สำคัญเท่ากับการกินเพื่อสุขภาพและออกกำลังกายเช่นเดียวกัน
ะเกิดอะไรขึ้นถ้าเราไม่นอน? การนอนหลับไม่เพียงพอสามารถลดแรงขับทางเพศของเราลง และลดระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้เกิดปัญหาทางด้านการคิด ตัดสินใจและนำไปสู่การเพิ่มน้ำหนัก
ไม่ใช่แค่การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเท่านั้นที่ลดพลังงานเรานะ แต่สิ่งเล็กน้อยที่เพื่อนๆ ทำ (และไม่ทำ) อาจทำให้เพื่อนๆ หมดแรงทั้งจิตใจและร่างกายได้โดยไม่รู้ตัวเลยล่ะ และนี่คือสิ่งที่ Time.com ได้ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญที่เปิดเผยถึงนิสัยไม่ดีที่พบบ่อยซึ่งอาจทำให้เรารู้สึกเหนื่อยอ่อนอยู่ตลอดเวลา
การศึกษาเรื่องการกินอาหารว่างยามดึกและความอยากอาหารจังก์ฟู้ดอาจส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่แข็งแรงและเป็นตัวบ่งชี้ถึงความเชื่อมโยงระหว่างการนอนหลับที่ไม่ดีกับโรคอ้วน ตามการศึกษาของนักวิจัยด้านการนอนหลับของ University of Arizona Health Sciences
การนอนแบบหลับสนิทตลอดคืนอย่างเพียงพอมีประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย แถมยังทำให้ตื่นมาตอนเช้าสดชื่นมีแรงพลังต่อสู้กับงานและความวุ่นวายในแต่ละวันได้ แต่การนอนหลับสนิทตลอดคืนอาจไม่ใช่เรื่องทำได้ง่ายๆ ของบางคน และผลกระทบของการนอนไม่หลับยังมีอีกมากด้วยนะ
หลับยาก ติดต่อกันเกิน 1 สัปดาห์ – 10 วัน รู้สึกเพลีย มีอาการง่วงหงาวหาวนอน ประสิทธิภาพในการทำงานลดน้อยลง มีอาการหงุดหงิดอารมณ์เสียง่ายขึ้น คิดอะไรไม่ค่อยออก หรือไม่ก็จะมีอาการหลงๆลืมๆอยู่บ่อยๆ มักมีอาการหลับในเวลาขับรถ มีอาการปวดศีรษะอยู่เสมอ มักมีอาการเซื่องซึม เหล่านี้คือสัญญาญเตือนที่บอกว่าเพื่อนๆ กำลังเผชิญกับ “โรคนอนไม่หลับ” แน่นอนว่าโรคนี้ส่งผลกระทบกับชีวิตประจำวันของเราโดยตรง…