ดื่มวันละแก้ว… ใครว่าดี? งานศึกษาใหม่ชี้เสี่ยงมะเร็งกว่าเดิม!
เราอาจเคยได้ยินมาว่า… ดื่มไวน์เบาๆ วันละแก้วช่วยให้สุขภาพดีขึ้น แต่ผลการศึกษาใหม่จากคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยวอชิงตันในเซนต์หลุยส์ ดูเหมือนไม่ได้เห็นด้วยตามคำกล่าวนั้น
เราอาจเคยได้ยินมาว่า… ดื่มไวน์เบาๆ วันละแก้วช่วยให้สุขภาพดีขึ้น แต่ผลการศึกษาใหม่จากคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยวอชิงตันในเซนต์หลุยส์ ดูเหมือนไม่ได้เห็นด้วยตามคำกล่าวนั้น
กลางวันให้ดื่มน้ำแก้วใหญ่ๆ เป็นหนึ่งในวิธีเพิ่มประสิทธิภาพระบบเผาผลาญให้ดีขึ้นจากบทความเรื่อง 7 วิธีเพิ่มระบบเผาผลาญให้ลดอ้วนได้ผลดีขึ้น รวมไปถึงการเลือกโฮลเกรนในมื้อเช้าก็ยิ่งช่วยสงเสริมให้การทำงานของระบบดังกล่าวดีขึ้นด้วยเหมือนกัน
ผู้หญิงที่กินเนยถั่วมากกว่า 2 ครั้งต่อสัปดาห์ จะมีน้ำหนักตัวต่ำกว่าคนที่ไม่ได้กินเล็กน้อย สอดคล้องกับผลวิจัยของมหาวิทยาลัยเพอร์ดูที่ชี้ว่า ของว่างที่มีเนยถั่วเป็นส่วนประกอบจะช่วยให้คุณรู้สึกอิ่มนานกว่า 2 ชั่วโมงครึ่ง
จากบทความเรื่อง สาเหตุความเครียดไหน ที่ทำให้เรา “เสี่ยงโรค” มากที่สุด? บอกว่า… “ความเครียด” ที่มีสาเหตุมาจาก “จิตใจ” นำไปสู่โรคได้มากกว่าความเครียดในลักษณะอื่นๆ และเมื่อไหร่ก็ตามที่เกิดความเครียดจะส่งผลกระทบต่อร่างกายได้มากถึง 8 อวัยวะเลยทีเดียว
แม้ว่าอาหารเจจะเป็นอาหารสุขภาพ แต่ถ้ากินไม่ถูกหลักโภชนาการอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพได้เช่นกัน พญ.อยุทธินี สิงหโกวินท์ แพทย์หัวหน้าศูนย์เบาหวานและต่อมไร้ท่อโรงพยาบาลพญาไท 2 ให้ข้อมูลว่า
ช่วงนี้ปวดข้อ บางทีขับถ่ายยากกว่าปกติ หรือหลงๆ ลืมๆ หรือเปล่า? เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนว่าเพื่อนๆ อาจดื่มน้ำไม่เพียงพอ
กลับมาอีกครั้งกับเทศกาลกินเจ และในทุกปีก็จะมีหัวข้อมาให้เราได้ตั้งคำถามอยู่เสมอ เช่น กินเจอย่างไรถึงจะดีกับสุขภาพ เพราะหลายคนมีความคิดว่ากินเจต้องกินแป้งเยอะกว่าปกติแน่ๆ ซึ่งทำให้อ้วนง่าย จากบทความเรื่อง มาดูวิธี “กินเจ” อย่างถูกต้องกันดีกว่า
เลข 4 ไม่ได้น่ากลัวขนาดนั้นนะ แต่ในทางตรงกันข้ามในวัยนี้คุณคือผู้ที่แข็งแกร่ง ฉลาด และเป็นตัวของตัวเองมากที่สุด ทั้งยังเป็นอีกหนึ่งก้าวของร่างกายที่บอกว่า ต้องดูแลตัวเองให้ดีขึ้น หนึ่งในแนวทางที่สำคัญก็คือเรื่องของอาหาร โดยเฉพาะ “มื้อเช้า”
นักวิจัยได้ค้นพบวิธีชะลอความแก่ และมันเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่ชื่อว่า “Fisetin” (ไฟเซติน) โดยพบว่าลดระดับเซลล์ที่เสียหายลงในร่างกายซึ่งเกิดจากอายุ
เรารู้กันเป็นอย่างดีอยู่แล้วว่า “มื้อเช้า” เป็นมื้อที่สำคัญ จากบทความเรื่อง “มื้อเช้า” ให้มากกว่าที่คิด และนี่คือเหตุผลที่เราไม่ควรข้ามไป บอกว่า คนที่จัดมื้อใหญ่ในตอนเช้า มีแนวโน้มที่จะมีค่าดัชนีมวลกายลดลง