12 พฤติกรรมทำร้ายหัวใจไม่รู้ตัว!
โรคหัวใจและหลอดเลือด แม้จะไม่ใช่โรคติดต่อที่ทำให้คนตระหนักได้อย่างรวดเร็วแต่ก็ไม่ใช่โรคไกลตัวเลยนะครับ เพราะมีข้อมูลบอกว่าคนไทยป่วยเป็นโรคหัวใจเฉลี่ยชั่วโมงละ 7 คน!
โรคหัวใจและหลอดเลือด แม้จะไม่ใช่โรคติดต่อที่ทำให้คนตระหนักได้อย่างรวดเร็วแต่ก็ไม่ใช่โรคไกลตัวเลยนะครับ เพราะมีข้อมูลบอกว่าคนไทยป่วยเป็นโรคหัวใจเฉลี่ยชั่วโมงละ 7 คน!
จากบทความเรื่อง สาเหตุความเครียดไหน ที่ทำให้เรา “เสี่ยงโรค” มากที่สุด? บอกว่า… “ความเครียด” ที่มีสาเหตุมาจาก “จิตใจ” นำไปสู่โรคได้มากกว่าความเครียดในลักษณะอื่นๆ และเมื่อไหร่ก็ตามที่เกิดความเครียดจะส่งผลกระทบต่อร่างกายได้มากถึง 8 อวัยวะเลยทีเดียว
ปัจจุบันพบคนที่เป็นไมเกรนเพิ่มขึ้น แถมยังเป็นช่วงอายุที่เป็นเด็ก วัยรุ่นและกลุ่มวัยรุ่นตอนปลาย ซึ่งสาเหตุกนึ่งของโรคนั้นมาจากการขาดวิตามินดีและโคเอนไซน์ คิวเท็น (coenzyme Q10)
เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น เราจะพบถึงความเปลี่ยนแปลงเรื่องรูปร่าง โดยเฉพาะหน้าท้องที่จู่ๆ ก็ได้มา ส่วนหนึ่งที่นอกเหนือจากเรื่องของอายุแล้วยังมีเรื่องของพฤติกรรมที่ทำให้มีพุงได้ไม่รู้ตัว
มีเหตุผลอีกมากมายที่ทำให้เราเริ่มต้นหันมามองการกินผักผลไม้ให้มากขึ้น และเลือกลดการกินเนื้อลง เพราะนอกเหนือจากยาปฏิชีวนะที่อยู่ในเนื้อแล้ว การกินเนื้อมากๆ ยังไม่ส่งผลดีกับสุขภาพ
จะมีคนอยู่เยอะเลยทีเดียวที่เรามองพวกเขาแล้วรู้สึกว่า “ทำไมดูเด็กจัง?” หรือ “ทำไมดูสดใสตลอดเวลาเลย” หนึ่งในเคล็ดลับสำคัญของการดูเด็กลง ทัศนคติที่ดี รวมไปถึงการดูแลตัวเองที่ดีด้วยเช่นเดียวกัน
เราเคยได้ยินมาว่า “อ้วน” ก่อโรค แต่น้ำหนักที่ต่ำกว่ามาตรฐานก็สร้างโรคได้เหมือนกัน เมื่องานวิจัยจาก คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์ ที่นำทีมโดย B. Lee Peterlin พบว่า…
หลังจากที่เราพูดคุยกันในบทความเรื่อง ขาดวิตามินเสี่ยงมะเร็งไม่พอ ทำปวดไมเกรนด้วย! ทำให้เราเห็นความสำคัญมากขึ้นในเรื่องของการสร้างสมดุลร่างกาย โดยเฉพาะกับคนที่มีความเสี่ยงมีอาการไมเกรน
เพื่อนๆ เป็นอีกหนึ่งคนที่ไม่ยอมตรวจความดันโลหิตหรือเปล่า? รู้หรือไม่… การละเลยเรื่องการตรวจความดันอาจนำไปสู่โรคร้ายอย่างโรคหัวใจได้นะ โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับความดันโลหิตสูง เพราะหัวใจจะมีขนาดที่โตขึ้น เพื่อรับแรงดันจากเลือดที่สูบฉีดเข้ามาภายในหัวใจ
โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตในประเทศไทย แม้ว่าความเสี่ยงจากการเสียชีวิตจากโรคหัวใจจะสามารถแก้ไขได้ด้วยการปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต แต่คนส่วนใหญ่ไม่ตระหนักถึงความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดจนกว่าจะประสบภาวะหัวใจหยุดเต้นซึ่งอาจถึงแก่ชีวิต