วิธีเช็คและสัญญาณอันตรายของ “ภาวะตัวเหลืองในทารก”
“ภาวะตัวเหลือง” เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในทารกแรกเกิด โดยพบได้มากถึงร้อยละ 50 ของทารกแรกคลอด!
“ภาวะตัวเหลือง” เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในทารกแรกเกิด โดยพบได้มากถึงร้อยละ 50 ของทารกแรกคลอด!
ยุคนี้เป็นยุคของโซเชียลเน็ตเวิร์ค ไม่ว่ามองไปทางไหนก็เห็นคนนั่งก้มหน้าใช้มือถือหรือแท็บเล็ตกันทั้งนั้น ที่น่าเป็นห่วงคือ ไม่เฉพาะแต่ผู้ใหญ่เท่านั้น พ่อแม่มือใหม่หลายบ้านยังใช้มือถือหรือแท็บเล็ตกับเจ้าตัวเล็ก เสมือนเป็นของเล่นดึงความสนใจให้เบบี๋อยู่นิ่งไม่งอแง โดยหารู้ไม่ว่าเป็นอันตรายต่อพัฒนาการของเด็ก!
ใครที่ติดตามข่าวสุขภาพรวมถึงข่าวชาวบ้านต่างๆ คงเคยผ่านหูผ่านตามาบ้าง เกี่ยวกับข่าวเด็กน้อยที่มีปัญหาผิวพองเป็นตุ่มน้ำทั่วตัว เมื่อตุ่มน้ำพองแตกก็จะเป็นแผลถลอก หรือที่เรียกว่า “เด็กผีเสื้อ” ดูน่าสงสารยิ่งนัก เชื่อว่าคนที่กำลังจะเป็นว่าที่พ่อแม่มือใหม่คงไม่มีใครอยากให้ลูกที่กำลังจะคลอดเจ็บป่วยเช่นนี้ ข้อมูลจาก ศ.คลินิก พญ. ศรีศุภลักษณ์ สิงคาลวณิช กุมารแพทย์ผิวหนัง อุปนายกด้านกิจกรรมสังคม สมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งประเทศไทย ระบุว่า… “โรคตุ่มน้ำพองใส” (Epidermolysis bullosa)…
ทารกเป็นวัยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ จึงเป็นวัยที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุ โดยอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับเด็กแรกเกิดหรือเด็กช่วงวัยทารก ส่วนใหญ่เกิดจากการขาดความระมัดระวังหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของผู้เลี้ยงดู ฉะนั้นหากพ่อแม่มีความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการตามวัยของเด็กก็จะช่วยลดความเสี่ยงได้ค่ะ
“ทารก” ได้ชื่อว่ามีร่างกายบอบบางอยู่แล้ว หากคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อย จะต้องดูแลด้วยการเข้าตู้อบ เพื่อให้การเจริญเติบโตเป็นไปด้วยดี แต่ที่ผ่านมาพบว่า เด็กคลอดก่อนกำหนดเกิดภาวะตาบอด จากการที่ออกซิเจนทำให้เส้นเลือดที่ดวงตาเจริญเติบโตผิดปกติ ส่งผลกระทบต่อจอตา เรียกว่า…
เพราะเด็กทารกเป็นวัยที่นอนหลับง่ายและหลับได้ยาวนาน ฝรั่งเขาจึงเปรียบเทียบคนที่หลับสนิทว่า Sleeping like a baby แต่การที่ทารกนอนหลับนานๆ ก็ใช่ว่าจะเป็นเรื่องที่ดี รวมถึงนอนน้อยเกินไปก็ถือว่าผิดปกติเช่นกัน คำถามคือ ทารกควรนอนนานแค่ไหน และถ้าเจ้าตัวเล็กหลับยาว คุณแม่ต้องปลุกหรือไม่?
“โรคปากแหว่งเพดานโหว่” (Cleft lip and cleft palate) เป็นความพิการแต่กำเนิดของศีรษะและใบหน้า เป็นความพิการแต่กำเนิดที่พบมากที่สุดอันหนึ่งของเด็ก ประมาณการกันว่า อัตราผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิด 600-800 คน นี่เองจึงทำให้พ่อแม่ที่คิดจะมีเบบี๋ควรทำความรู้จักโรคนี้ค่ะ
“หู” เป็นอวัยวะสำคัญในร่างกาย หากใช้งานหรือทำความสะอาดผิดวิธี อาจทำให้เกิดโรคต่างๆ ได้ โดยข้อมูลจากสถาบันบำราศนราดูร พบผู้ป่วยหูอื้อ เพราะขี้หูอุดตัน จากการใช้คอตตอนบัด เดือนละกว่า 100 ราย ขนาดผู้ใหญ่ยังพลาดได้ ฉะนั้นพ่อแม่ต้องใส่ใจในการทำความสะอาดหูของเบบี๋ที่แสนบอบบางนะคะ
อีกหนึ่งเทรนด์อันตรายที่เหล่าคุณแม่ต้องทำความเข้าใจข้อมูลให้ถูกต้องเพื่อความปลอดภัยของเบบี๋ค่ะ โดยเพจจ่าพิชิตได้แชร์ข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับเทรนด์สุดสยองในกลุ่มคุณแม่มือใหม่ จากความเชื่อที่ว่าน้ำมันปลามี DHA สูง น่าจะช่วยบำรุงสมองลูกได้ จึงแกะน้ำมันปลาหลายแคปซูล ผสมในนมให้ลูกกิน
“น้ำนม” คืออาหารหลักของเบบี๋ตั้งแต่ทารกคลอดออกมากระทั่งอายุ 6 เดือน เพราะให้สารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเบบี๋ แต่หลังจากนั้นทารกจำเป็นต้องรับประทานอาหารชนิดอื่นเพิ่มเติมด้วย หนึ่งในประเภทของอาหารที่ให้พลังงานและสารอาหารที่จำเป็นก็คือ “ผัก”