อายุเท่านี้ ควรนอนกี่ชั่วโมงดี? และวิธีช่วยนอนหลับได้มากขึ้น
ต้อนรับวันนอนหลับโลก นอนหลับอย่างไรให้สุขภาพดี เรามีคำแนะนำ
ต้อนรับวันนอนหลับโลก นอนหลับอย่างไรให้สุขภาพดี เรามีคำแนะนำ
ไม่เพียงสร้างความรำคาญให้คนร่วมเตียง แต่การนอนกรนยังเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะความเสี่ยงในการหยุดหายใจขณะหลับ ซึ่งอันตรายถึงชีวิต
แต่การจะนอนอย่างเต็มอิ่มได้นั้น บางทีเราก็ไม่รู้ตัวได้เลยว่า เรานอนอย่างเพียงพอแล้วหรือเปล่า รวมไปถึงอีกหนึ่งอาการที่น่าเป็นห่วงเพราะถือว่าเป็นภัยเงียบอย่าง “ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ” จากบทความเรื่อง บอกว่า
ไม่ว่าสังคมปัจจุบัน และไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไป อายุและความรับผิดชอบที่มากขึ้นจะนำทางเราไปสู่การนอนหลับน้อยลงแค่ไหน แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า “การนอน” จะสำคัญน้อยลงไปตามยุคสมัย
เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่า ร่างกายของเราต้องการนอนหลับพักผ่อน ทั้งนี้ก็เพื่อนการทำงานที่ดีที่สุดของระบบต่างๆ เพราะช่วงเวลาที่เราหลับนั้น ร่างกายจะรักษาและคืนสมดุลทางเคมี สมองของเราจะหล่อหลอมกับการเชื่อมต่อหน่วยความจำต่างๆ บ่อยครั้งที่เรานอนไม่พอจึงพบว่า เรามักหลงๆ ลืมๆ ได้อย่างง่ายดายแม้กับเรื่องที่ไม่ได้ยากต่อการจำนัก
เราเคยได้ยินกันมาว่า “ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ” เป็นภัยเงียบและเป็นอันตราย แต่จริงๆ แล้วโรคนี้มีสาเหตุมาจากอะไร และมีวิธีสังเกตอย่างไร มาหาคำตอบไปพร้อมกัน
นอนกรน เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่หลายคนมักมองข้ามไป แต่ นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอันตรายของการนอนกรนไว้ว่า… อาการนอนกรนที่เกิดในขณะหลับ
ภาวะหยุดหายใจขณะหลับเป็นหนึ่งในความผิดปกติของการนอนหลับที่พบได้มากที่สุด แต่กลับไม่ค่อยมีใครสนใจหรือเป็นกังวลเท่าไรอาจเพราะเราไม่รู้ตัวนั่นเอง แต่ด้วยผลกระทบที่ตามมาและความอันตรายที่มีมากพอสมควรจึงควรศึกษาและหาทางแก้ไขเอาไว้ เนื่องจากสามารถเกิดได้ทั้งเด็ก ผู้สูงวัย ผู้หญิงและผู้ชาย โดยอาการทั้งหมดจะเป็นดังนี้
สุขภาพการนอนของเด็กเป็นเรื่องสำคัญ เพราะหากเด็กมีปัญหาด้านการนอน ย่อมส่งผลกระทบถึงพัฒนาการของเด็กในด้านต่างๆ ทั้งการเรียนรู้ อารมณ์ สติปัญญา หนึ่งในปัญหาด้านการนอนที่พ่อแม่ไม่ควรละเลย คือ “ภาวะหยุดหายใจขณะหลับในเด็ก” อันมีสาเหตุมาจาก “ต่อมอะดีนอยด์โต”
“นอนกรน” เป็นความปกติจากการนอนไม่หลับที่พบบ่อย นอกจากจะสร้างความรำคาญให้คนรอบข้างจากเสียงดังที่รบกวนแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้มีอาการนอนกรนอีกด้วย กล่าวคือ อาการนอนกรนมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อภาวะหยุดหายใจขณะหลับซึ่งนำไปสู่ความเสี่ยงต่อโรคอันตรายหลายๆ โรค!!