รวบรวมวิธีสังเกตปัญหาผิวยอดฮิต
ว่าด้วยเรื่องปัญหาผิวสารพัดรูปแบบที่เราอาจพบเจอได้ ตั้งแต่อาการเล็กๆ อย่างขนคุด หรือจะหูดหรือฝีที่เป็นเรื่องใหญ่
ว่าด้วยเรื่องปัญหาผิวสารพัดรูปแบบที่เราอาจพบเจอได้ ตั้งแต่อาการเล็กๆ อย่างขนคุด หรือจะหูดหรือฝีที่เป็นเรื่องใหญ่
แม้ผิวหนังจะทำหน้าที่เป็นด่านแรกในการป้องกันอันตรายจากเชื้อโรคต่างๆ แต่ก็มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อได้เช่นกัน
หลายคนอาจพอทราบว่าฝีมีลักษณะหน้าตาเป็นอย่างไร แต่อาจจะนึกภาพไม่ออกว่าคนเราสามารถเกิดฝีที่ผิวหนังได้จริงหรือ คำตอบคือจริงค่ะ เรามาลองทำความรู้จักความผิดปกตินี้กันค่ะ
“ฝีมะม่วง”(LymphogranulomaVenereum-LGV)เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียคลาไมเดียทราโคมาติสชนิด L1, L2, L3 ติดต่อโดยการร่วมเพศหรือสัมผัสถูกหนองของฝีโดยตรง ทำให้เกิดแผลขนาดเล็ก ไม่เจ็บ ที่อวัยวะเพศก่อน ต่อมาจะทำให้เกิดการอักเสบของต่อมน้ำเหลืองบริเวณขาหนีบ ทำให้เกิดอาการปวดบวมเดินลำบาก
โรคฝีในตับ (Liver abscess)คือโรคที่เกิดจากตับติดเชื้อและเกิดมีฝี/หนองขึ้นในตับ ซึ่งอาจเกิดขึ้นเพียงฝีเดียวตำแหน่งเดียว หรือหลายฝีก็ได้ โดยอาจเกิดร่วมกับที่อวัยวะอื่นๆเกิดมีฝีร่วมด้วย หรือเกิดมีฝีเฉพาะในตับก็ได้เช่นกัน ทั้งนี้ขึ้นกับความรุนแรงของโรคฝีในตับที่พบได้ มีทั้งตับอักเสบชนิดฝีบิดอะมีบาและฝีแบคทีเรียโดยโรคฝีตับเป็นโรคที่พบได้ไม่บ่อยนัก แต่พบได้ในทุกวัย
“ฝีฝักบัว” (Carbuncle) คือการติดเชื้อแบคทีเรียในกลุ่มสแตฟฟีโลค็อกคัส(Staphylococcus)ที่ต่อมไขมันและที่ขุมขนของผิวหนัง ลุกลามจนรวมกันเป็นกลุ่มก้อน มีหนองสะสมจนมีลักษณะเป็นก้อนหนองเรียกว่าเป็น “ฝีฝักบัว”(โดยทั่วไปฝีมักขึ้นเพียงหัวเดียว แต่กรณีที่ขึ้นหลายหัว ติดๆ กัน จะเรียกว่า “ฝีฝักบัว”)
โปรดเชื่อเถอะค่ะ! เพราะมันเกิดขึ้นแล้วจริงๆ ยิ่งนั่งทำงานนานไม่ค่อยได้ลุกเดิน นั่งรถนาน นั่งเครื่องบินเป็นชั่วโมงๆ หรือเดินมากไปเกิดการเสียดสีกับชุดชั้นใน ฝีเม็ดโตก็ผุดขึ้นมาได้ และมีที่มากมายบนร่างกายให้คุณ ไม่ขึ้นมาขึ้นที่ก้น