Category Archives: สารพัดโรค

“ไข้แมวข่วน” โรคสุ่มเสี่ยงของเหล่าทาสแมว!!

“ไข้แมวข่วน” (Cat scratch fever) หรือ “โรคแมวข่วน” (Cat scratch disease-CSD) เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิดกึ่งเฉียบพลันมีชื่อว่า บาร์โทเนลล่า เฮนเซลเล่

ทำความรู้จักและเข้าใจ “ภาวะกล้ามเนื้อพร่อง”

“ภาวะกล้ามเนื้อพร่อง” เป็นภาวะที่มีการสูญเสียมวลกล้ามเนื้อรวมทั้งกำลังกล้ามเนื้อภาวะกล้ามเนื้อพร่องนี้พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ และจะเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น (การสูญเสียมวลกล้ามเนื้อและกำลังกล้ามเนื้อจะเด่นชัดเมื่ออายุประมาณ 50 ปีขึ้นไป จะเกิดเร็วขึ้นเมื่อมีอายุ 60 ปีขึ้นไป)

“มะเร็งกระดูก” พบได้น้อย แต่ความรุนแรงสูง

“มะเร็งกระดูก” (Bone cancer หรือ Malignant bone tumor)เป็นโรคมะเร็งที่พบได้น้อยมาก พบได้น้อย ประมาณร้อยละ 5 ของมะเร็งทั้งหมดแต่ถ้าหากเป็นแล้ว อาการมักจะรุนแรงและกระจายไปสู่อวัยวะอื่นได้รวดเร็วมาก ส่วนใหญ่จะพบในคนอายุต่ำกว่า 35 ปี โดยเฉพาะในช่วงอายุ 10 – 20 ปีแต่อาจพบในช่วงอายุอื่นๆได้บ้างทั้งในเด็กเล็กจนถึงในผู้สูงอายุ

“ริดสีดวงจมูก” อันตรายมากน้อยแค่ไหน ไปหาคำตอบกัน!!

“โรคริดสีดวงจมูก” (Nasal Polyps) หลายคนสับสนโรคนี้กับไซนัสอักเสบ ในความเป็นจริงแล้ว โรคริดสีดวงจมูก คือ การที่เยื่อบุจมูกหรือไซนัสมีการอักเสบและบวมจนยื่นออกมาเป็นก้อน ทำให้โพรงจมูกและ/หรือไซนัสแคบ

หน้าก็เป็นอัมพาตได้!! โรคร้ายที่เกิดขึ้นได้แบบไม่ให้ตั้งตัว

“โรคอัมพาตใบหน้า”(Bell’s palsy) รู้จักกันในหลายชื่อ ได้แก่ โรคอัมพาตเบลล์, โรคใบหน้าเบี้ยว, โรคใบหน้าเบี้ยวครึ่งซีก, โรคใบหน้าอัมพาตครึ่งซีก เหตุที่เรียกชื่อโรคว่า Bell’s palsy เพราะแพทย์ชาวสกอตแลนด์ชื่อ Charles Bell (ชาร์ลส์ เบลล์) เป็นผู้รายงานเกี่ยวกับโรคนี้เป็นคนแรกในปี พ.ศ.2372

“ไอกรน” โรคติดต่อที่สำคัญของระบบทางเดินหายใจ

“โรคไอกรน” เป็นโรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนบน(จมูก คอ และท่อลม) เกิดได้ในทุกสภาพอากาศหรือภูมิประเทศ ในชุมชนที่มีประชาชนอยู่รวมกันอย่างหนาแน่น มักพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้สูง โดยเฉพาะในช่วงปลายฤดูหนาวและต้นฤดู ใบไม้ผลิ โรคไอกรนมักเกิดในเด็กอายุต่ำกว่า 7 ปี และพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย

“ไข้หวัดใหญ่” VS “ไข้เลือดออก” ต่างกันยังไงนะ??

ผลพวงจากที่ตอนนี้กระแสความน่ากลัวของ “โรคไข้เลือดออก” กำลังเป็นที่ฮือฮาในบ้านเรา หลายคนสับสนระหว่าง “โรคไข้เลือดออก” กับ“โรคไข้หวัดใหญ่” เพราะมีอาการคล้ายคลึงมากว่าแล้วมาเจาะลึกถึงความแตกต่างของสองโรคนี้กันดีกว่าเผื่อเกิดเจ็บป่วยขึ้นมา จะได้รักษาได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และตรงจุด

“คันก้นบ่อย” ไม่ใช่เรื่องขำ มันเป็นโรคนะขอบอก!

“คันทวารหนัก” (Pruritus ani) คือ อาการคันที่เกิดในบริเวณรอบๆ ปากทวารหนัก อาจเป็นอาการเฉียบพลัน หรือเป็นอาการเรื้อรัง ทั้งนี้ขึ้นกับสาเหตุ อาการคันจะเกิดอยู่ตลอดเวลา โดยมากจะเกิดหลังจากเข้าห้องน้ำ และก่อนนอน และจะเป็นมากเมื่อ ร้อน ชื้น เครียด ผลจากการคันจะทำให้ผิวหนังบริเวณดังกล่าวเกิดการติดเชื้อ คันทวารหนักเป็นอาการพบได้บ่อย พบได้ทุกเพศ ทุกวัย ทุกช่วงอายุ

“ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์” โรคร้ายที่มียุงเป็นพาหะ

แม้จะเป็นโรคที่ไกลตัวเพราะปัจจุบันยังไม่พบรายงานผู้ป่วยโรคนี้ในประเทศไทย และโอกาสที่โรคจะแพร่จากต่างประเทศมาสู่ไทยเกิดขึ้นได้น้อยแต่ “ไข้สมองอักเสบเวสต์ไนล์” ก็ยังเป็นโรคที่คุณไม่ควรมองข้าม เนื่องจากเป็นโรคที่สามารถติดต่อได้ระหว่างสัตว์ และคน ที่สำคัญคือยังไม่มียารักษาเฉพาะ

“โรคหัด” ภัยสุขภาพที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

แม้จะฟินกับสายลมเย็นๆ ที่เป็นสัญญาณบอกว่าเข้าฤดูหนาวแล้ว แต่อย่ามัวดี๊ด๊าจนลืมดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพราะเพราะอากาศที่เย็นสบายเป็นตัวการชั้นดีในการกระจายของไวรัส จึงต้องระวังโรคที่มากับฤดูหนาว ซึ่งหนึ่งในโรคฮิตที่ไม่พูดถึงไม่ได้ก็คือ “โรคหัด”