Tag Archives: โรคซึมเศร้า

ปัญหาสุขภาพจิตรุมเร้า “วัยทำงาน” รุนแรงถึงขั้นฆ่าตัวตาย!

“โรคซึมเศร้า” และ “ภาวะเครียด-โรควิตกกังวล” ถือเป็นปัญหาสุขภาพจิตของวัยทำงานทั่วโลกที่พบบ่อย โดยพบผู้ป่วยประมาณ 300 ล้านคน และ 260 ล้านคน ตามลำดับ เนื่องจากชีวิตส่วนใหญ่ของเราจะอยู่ในช่วงวัยทำงาน ส่วนในไทยพบปัญหาสุขภาพจิตในวัยทำงานสูงเช่นกัน แถมยังรุนแรงถึงขั้นฆ่าตัวตาย!

รู้จัก 3 โรค ที่มีอาการคล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้า

ช่วงไม่กี่ปีมานี้ “โรคซึมเศร้า” ดูจะเป็นโรคทางจิตเวชที่มีการพูดถึงกันมาก เมื่อลองเช็คอาการคร่าวๆ ของผู้ป่วยก็พบว่าตัวเองเข้าข่ายทีเดียว จนหลายคนออกอาการนอยด์ สงสัยว่าตัวเองจะเป็นโรคนี้หรือเปล่า อย่าเพิ่งวิตกกังวลกันเกินกว่าเหตุนะคะ เพราะมีหลายๆ โรคที่มีอาการคล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้าค่ะ

2 ปัจจัยหลักที่ทำให้เกิด “ภาวะซึมเศร้าในเด็ก”

“ภาวะซึมเศร้า” เป็นสภาพทางจิตที่มีระดับความรู้สึกเศร้ารุนแรงหรือเรื้อรัง รู้สึกหมดหนทาง และมีอารมณ์หรือมีพฤติกรรมอื่นๆ ร่วมด้วย ถือเป็นเป็นโรคทางจิตเวชที่มีผู้เป็นจำนวนไม่น้อย แต่ยังมีผู้รู้จักโรคนี้ไม่มากนัก รวมถึงหลายคนไม่คาดคิดด้วยว่าจะมีโรคนี้เกิดขึ้นในวัยเด็ก หรือที่เรียกว่า “ภาวะซึมเศร้าในเด็ก”

ว่ากันว่าหากคนเราขาดเกลือไปโรคซึมเศร้าก็จะถามหา จริงหรือไม่?

เกลือเป็นเครื่องปรุงรสที่ขาดแทบไม่ได้ เกลือสามารถใส่ได้ทั้งในของคาวและของหวาน การใส่เกลือนิดหน่อยทำให้รสชาติอร่อยกลมกล่อมได้อีกเยอะ ว่ากันว่าหากคนเราขาดเกลือไปโรคซึมเศร้าก็จะถามหา จริงหรือไม่?

ครอบครัวต้องรู้! แม่หลังคลอดเสี่ยงโรคซึมเศร้า 3 เท่า

หลายคนเข้าใจผิดคิดว่าการที่ได้เห็นลูกน้อยลืมตาดูโลกจะทำให้หลังจากนั้นชีวิตของคุณแม่มือใหม่จะต้องเปี่ยมด้วยความสุขสดชื่น แท้จริงแล้วโรคซึมเศร้าหลังคลอด ถือเป็นเรื่องปกติที่พบบ่อยสำหรับผู้หญิงหลังคลอด ฉะนั้นการทำความเข้าใจและเตรียมพร้อมรับมือจึงเป็นเรื่องสำคัญสำหรับคุณแม่และคนใกล้ชิดค่ะ

“ไลฟ์โค้ช” ช่วยโรคซึมเศร้าไม่ได้ ต้องให้แพทย์รักษาเท่านั้น!

จากกรณีดรามาหญิงสาวซื้อคอร์สอบรมกับนักพูดนักเขียนรายหนึ่ง แต่ถูกด่าทอ ไล่ให้ไปตาย และจับขัง โดยโค้ชชิ่งต้นเรื่องได้ออกมายอมรับว่า ทำเพื่อทดสอบว่าเป็นโรคซึมเศร้าจริงหรือไม่ ล่าสุดจิตแพทย์ได้ออกมาเตือนแล้วนะคะว่า “โค้ชชิ่ง” ไม่ใช่นักจิตวิทยา ไม่สามารถดูแลหรือวินิจฉัยผู้ป่วยจิตเวชได้ค่ะ

Get Better Soon! เมื่อเจอเรื่องน่าเศร้า 3 วิธีทำความเข้าใจมัน

ความเศร้าโศกเสียใจเป็นความรู้สึกอีกอย่างหนึ่งที่เราต้องพบเจอในชีวิตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นเพราะสาเหตุใดก็ตามที เมื่อเราต้องเผชิญกับช่วงเวลาเศร้าโศกจนกินไม่ได้นอนไม่หลับ และปล่อยตัวให้จมอยู่กับมันนานเกินไปจนกลายเป็นโรคซึมเศร้าหรืออาจเกิดเหตุการณ์ร้ายเองมากกว่านั้นได้ย่อมไม่ใช่เรื่องดีแน่!

สำรวจคนใกล้ตัวด้วย 9 สัญญาณเตือนโรคซึมเศร้า

“โรคซึมเศร้า”เป็นโรคทางจิตเวชที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจไปจนถึงร่างกาย เช่นนอนหลับๆ ตื่นๆ เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลงมาก หมดความสนใจต่อโลกภายนอก ไม่คิดอยากมีชีวิตอยู่อีกต่อไป เหล่านี้ ทำให้ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจำนวนไม่น้อยเลือกที่จะหนีจากความทรมานทางจิตใจด้วยการ “ฆ่าตัวตาย”

Infographic: ภาวะซึมเศร้ากับเรื่องเราอยากให้รู้

เหมือนว่าจะเป็นเรื่องที่คุ้นหูและได้ยินกันมาบ่อยมากๆ แล้วกับเรื่องของ “ภาวะซึมเศร้า” แต่ที่น่าแปลกใจเมื่อโรคนี้เป็นข่าวครึกโครมแต่กลับมีเพียงคนไม่มากที่เข้าใจและรู้จักเกี่ยวกับโรคนี้กันจริงๆ

Infographic: วิธีบูสความสุขให้ตัวเอง ด้วยวิธีที่ง่ายสุดในโลกแบบนี้

เพื่อนๆ รู้สึกหรือเปล่าครับว่า ในยุคที่อะไรๆ ก็ดูรวดเร็วไปเสียหมด ไม่ว่าจะเป็นความไวอินเตอร์เน็ท(?) วิถีชีวิตการกินอยู่แบบสะดวกพร้อมส่งถึงที่โดยที่ไม่ต้องพยายามมากนัก บางครั้งกลับเหมือนชีวิตถูกทอนความสุขออกไปทั้งที่ก็ได้รับความสะดวกสบายมากขึ้นแท้ๆ