ประโยชน์ของการพ่นจมูกเบบี๋ ที่พ่อแม่อาจไม่รู้
“จมูก” ถือเป็นอวัยวะสำคัญของร่างกาย วิธีหายใจที่ถูกต้องเหมาะสมที่สุดมีเพียงวิธีเดียวเท่านั้น คือการหายใจผ่านรูจมูก ซึ่งสำคัญต่อการเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
“จมูก” ถือเป็นอวัยวะสำคัญของร่างกาย วิธีหายใจที่ถูกต้องเหมาะสมที่สุดมีเพียงวิธีเดียวเท่านั้น คือการหายใจผ่านรูจมูก ซึ่งสำคัญต่อการเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วย “วัคซีน” เป็นกลวิธีป้องกันโรครวมถึงควบคุมโรคติดต่อที่มีประสิทธิภาพสูง และมีความคุ้มค่ามากที่สุด
การที่ต้องอุ้มเบบี๋เป็นเวลานานๆ อาจทำให้ปวดเมื่อยแขนและหลังได้ ครั้นจะใช้รถเข็นเด็กก็ไม่ให้ความรู้สึกใกล้ชิดกับลูก “เป้อุ้มเด็ก” จึงเป็นไอเท็มที่ผลิตขึ้นเพื่อตอบโจทย์ดังกล่าว ส่วนแบรนด์ไหนจะคู่ควรแก่การเปย์ ลองดูการจัดอันดับ Best Baby Carriers 2018 ของ Mommyhood101.com เป็นไกด์ไลน์กันค่ะ 1.LILLEBaby Complete All Season เป้อุ้มเด็กจากอเมริกาที่เป๊ะทั้งความงามและประโยชน์ใช้สอย สำหรับรุ่นนี้…
ความไม่สบายตัวหรือเจ็บป่วยถือเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เบบี๋มีอาการงอแง และเพราะเจ้าตัวเล็กไม่สามารถสื่อสารเป็นคำพูดเพื่อบอกเล่าถึงอาการที่เกิดขึ้น รวมถึงยังไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
ในแต่ละวันทารกแรกเกิดต้องดื่มนมประมาณ 8-12 ครั้ง ฉะนั้น หากเบบี๋ไม่ได้ดูดนมจากเต้าแต่ดูดจากขวดนม คุณแม่จึงต้องมั่นใจว่าขวดนมที่ใช้นั้นปลอดภัยและดีต่อสุขภาพของลูกรัก
“ดวงตา” เป็นอวัยวะสำคัญที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ตั้งแต่แรกเกิด โดยเด็กจะต้องจ้องมองได้เมื่ออายุไม่เกิน 2 เดือน โดยจะมองหน้าแม่ขณะให้นม และมองตามหน้าแม่ที่ขยับไปมาได้
การที่เด็กจะเลี้ยงสัตว์ได้ ต้องอยู่ในวัยที่สามารถดูแลตัวเองได้ก่อน ซึ่งเด็กวัย 2 ขวบ ยังไม่ถูกฝึกในการเตรียมความพร้อมในการดูแลชีวิตตนเอง ยังต้องให้พ่อแม่ดูแล
“หวัด” ดูจะเป็นโรคที่ไม่น่าวิตกกังวลนัก เพราะใครๆ ก็เป็นกัน แต่สำหรับพ่อแม่ที่มีลูกวัยเบบี๋แล้วย่อมเป็นเรื่องที่มองข้ามไปไม่ได้ แม้ทารกแรกเกิดจะไม่ค่อยเป็นหวัด เพราะมีภูมิต้านทานโรคหวัดที่ได้รับผ่านน้ำนมแม่
ปัจจัยที่มีผลต่อไอคิวของเด็ก คือ ลักษณะการเลี้ยงดูของพ่อแม่ ซึ่งการเลี้ยงดูที่ดี จะต้องมีรากฐานมาจากการที่เด็กและพ่อแม่มีความผูกพันทางอารมณ์ที่แน่นแฟ้นมั่นคงต่อกันมาตั้งแต่ก่อนปฐมวัย
การสูญเสียการได้ยินในทารกแรกเกิดเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางอารมณ์และสังคมของเด็ก โดยเฉพาะในช่วง 3 ปีแรกของชีวิต พบได้ 3-5 คน ในทารกปกติ 1,000 คน และสูงถึง 3-5 คนในทารกกลุ่มเสี่ยง 100 คน