“ไอกรน” เสี่ยงระบาดสูง ป้องกันได้โดยพาเบบี๋ไปฉีดวัคซีน
เป็นโรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนบน (จมูก คอ และท่อลม) ทำให้มีอาการอักเสบของเยื่อบุทางเดินหายใจ และเกิดอาการไอซ้อนๆ ติดๆ กัน 5-10 ครั้ง หรือมากกว่านั้น
เป็นโรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนบน (จมูก คอ และท่อลม) ทำให้มีอาการอักเสบของเยื่อบุทางเดินหายใจ และเกิดอาการไอซ้อนๆ ติดๆ กัน 5-10 ครั้ง หรือมากกว่านั้น
“ภาวะซึมเศร้า” เป็นสภาพทางจิตที่มีระดับความรู้สึกเศร้ารุนแรงหรือเรื้อรัง รู้สึกหมดหนทาง และมีอารมณ์หรือมีพฤติกรรมอื่นๆ ร่วมด้วย ถือเป็นเป็นโรคทางจิตเวชที่มีผู้เป็นจำนวนไม่น้อย แต่ยังมีผู้รู้จักโรคนี้ไม่มากนัก รวมถึงหลายคนไม่คาดคิดด้วยว่าจะมีโรคนี้เกิดขึ้นในวัยเด็ก หรือที่เรียกว่า “ภาวะซึมเศร้าในเด็ก”
เมื่อเบบี๋อายุครบ 6 เดือน พ่อแม่ควรเริ่มให้อาหารเสริม เนื่องจากร่างกายของทารกต้องการพลังงานและสารอาหารบางอย่างนอกเหนือไปจากนมแม่ เพื่อพัฒนาการที่ครบสมบูรณ์ รวมถึงเพื่อฝึกพัฒนาการการกลืนและการเคี้ยวอาหาร และหนึ่งในอาหารที่เหมาะแก่การเป็นอาหารเสริมสำหรับเบบี๋ คือ ฟักทอง
“การเล่นของเด็ก” เป็นวิธีการเรียนรู้อย่างหนึ่งโดยธรรมชาติ ช่วยส่งเสริมพัฒนาการตามวัย ทำให้เด็กเป็นคนช่างสังเกต รู้จักคิดเชื่อมโยงเหตุผล ช่วยให้เด็กพัฒนาไปสู่วิธีการดำเนินชีวิตเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่
ทารกวัยแรกเกิดมีภูมิคุ้มกันโรคที่ต่ำกว่าผู้ใหญ่ เมื่อเจ็บป่วยจึงมักมีความรุนแรงมากกว่าวัยอื่น ฉะนั้น การหมั่นสังเกตอาการผิดปกติของเจ้าตัวเล็ก แล้วพาไปพบแพทย์แต่เนิ่นๆ จะช่วยผ่อนหนักเป็นเบาได้ รวมถึงทำให้พ่อแม่สามารถวางแผนการเลี้ยงดูเพื่อให้ทารกเติบโตได้อย่างเป็นสุขแม้จะเจ็บป่วยด้วยโรคร้ายก็ตาม
ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทำให้พ่อแม่จำนนไม่น้อยเลี้ยงลูกด้วยการ “ใช้จอ” ไม่ว่าจะเป็น มือถือ แท็บเล็ต หรือโทรทัศน์ โดยหารู้ไม่ว่าการใช้สื่อผ่านจอในการเลี้ยงเด็กเพียงอย่างเดียว โดยไม่มีปฏิสัมพันธ์กับพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเลย ไม่ได้ช่วยในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในทางตรงกันข้ามกลับทำให้แย่ลง
เป็นโรคหัวใจที่พบบ่อยที่สุดในวัยเด็ก พบถึงร้อยละ 70-80 ของโรคหัวใจในเด็กทั้งหมด พบในทารกเกิดใหม่มีชีวิตถึง 8 :1,000 ถ้าเด็กเกิดในประเทศไทยปีละ 1 ล้านคน จะมีเด็กที่เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดถึงปีละ 8,000 คน
นอกจากบุตรหลานหรือคนใกล้ชิดเป็นโรคหัวใจ จึงเริ่มให้ความสนใจโรคหัวใจในเด็กมากขึ้น ทั้งที่จริงแล้ว เจ้าตัวเล็กก็มีความเสี่ยงที่จะพบว่าเป็น “โรคหัวใจ” ได้เช่นกันค่ะ
“ภาวะตัวเหลือง” เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในทารกแรกเกิด โดยพบได้มากถึงร้อยละ 50 ของทารกแรกคลอด!
ระยะนี้ประเทศไทยมีฝนตกชุก อากาศชื้น ทำให้เชื้อโรคชนิดต่างๆ สามารถแพร่กระจายได้ง่ายกว่าปกติ โดยเฉพาะในเด็กเล็ก ที่มีภูมิคุ้มกันร่างกายน้อย ส่งผลให้เจ็บป่วยได้ง่าย ซึ่งโรคที่พบบ่อย คือ “โรคไวรัสลงกระเพาะ” หรือ “โรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ” ซึ่งอันตรายต่อเด็กถึงขั้นเสียชีวิตทีเดียวค่ะ ข้อมูลจาก นพ.ธีรพล โตพันธานนท์ อธิบดีกรมการแพทย์ ระบุว่า… เชื้อไวรัสที่เป็นต้นเหตุของโรคไวรัสลงกระเพาะมีหลายชนิด แต่ที่พบได้บ่อยในเด็กเล็กตั้งแต่แรกเกิดถึง…