Tag Archives: สารพัดโรค

“คันก้นบ่อย” เพราะอะไร? 11 ข้อเช็คอาการก่อนเจอโรคร้าย!

รู้สึก “คันก้น” บ่อยๆ อยู่หรือเปล่า? อาการคันก้นนั้นจะรู้สึกคันๆ รอบทวารหนัก บางคนเป็นพักๆ แต่บางคนพบว่ารู้สึกคันก้นอยู่ตลอดเวลา จุดสังเกตคือมักคันก้นหลังจาก

มี “มะเร็ง” อะไรบ้างที่มีปัจจัยมาจากเบาหวาน?

จากการรีวิวผู้คนเกือบ 20 ล้านคนได้แสดงให้เห็นว่า “โรคเบาหวานเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งมากขึ้นโดยเฉพาะในผู้หญิง” โดยรายงานนี้นั้นได้เผยแพร่ใน Diabetologia (วารสารของสมาคมโรคเบาหวานยุโรป หรือ EASD)

ใช้ “ครีมกันแดด” ในวัยรุ่น ช่วยลดเสี่ยงมะเร็งผิวหนัง 40%

การศึกษาครั้งแรกของโลกที่นำโดยมหาวิทยาลัยซิดนีย์พบว่า ชาวออสเตรเลียอายุระหว่าง 18-40 ปี ที่ใช้ครีมกันแดดเป็นประจำในวัยเด็ก สามารถลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งผิวหนังได้ถึง 40% เทียบกับผู้ที่ไม่เคยใช้ครีมกันแดดเลย!

งานวิจัยพบ… “คนอ้วน” เป็นหวัดและแพร่เชื้อนานกว่าคนรูปร่างสมส่วน

โรคอ้วนเพิ่มความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนรุนแรงจากโรคไข้หวัดใหญ่ นอกจากนี้ยังมีบทบาทในการแพร่ระบาดของไข้หวัดตามผลการศึกษาฉบับใหม่ที่ตีพิมพ์ในวารสาร The Journal of Infectious Diseases โดยผลการวิจัยพบว่า…

บุหรี่ไฟฟ้าทำให้เกิด “โรคหัวใจวาย” มากถึงเป็นเท่าตัว!

การใช้บุหรี่ไฟฟ้าทุกวันสามารถทำให้อัตราการเกิดโรคหัวใจวายได้เกือบเท่าตัวจากการสำรวจของผู้คนเกือบ 70,000 คน นำโดยนักวิจัยจาก UC San Francisco

ไม่ใช่แค่อ้วนไป ผอมเกินก็ทำเสี่ยง “ไมเกรน” ได้เหมือนกัน!

เราเคยได้ยินมาว่า “อ้วน” ก่อโรค แต่น้ำหนักที่ต่ำกว่ามาตรฐานก็สร้างโรคได้เหมือนกัน เมื่องานวิจัยจาก คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์ ที่นำทีมโดย B. Lee Peterlin พบว่า…

รู้ยัง… “โปรตีน” ช่วยลดภาวะไขมันพอกตับในระยะยาว

การเพิ่มปริมาณโปรตีนในอาหารอาจช่วยลดไขมันในตับและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานในผู้ที่เป็นภาวะไขมันพอกตับที่ไม่ได้เกิดจากแอลกอฮอล์ (NAFLD) การศึกษาถูกตีพิมพ์ในวารสาร American Journal of Physiology – ต่อมไร้ท่อและการเผาผลาญอาหาร

งานวิจัยพบ จำนวนชั่วโมงนอนที่ดีที่สุดและลดเสี่ยงโรค คือ…

นักวิจัยค้นพบจุดที่ดีที่สุดของการนอน นั่นคือ การนอน 6-8 ชั่วโมง เป็นประโยชน์มากที่สุดสำหรับสุขภาพของหัวใจ ผลการวิจัยนี้ถูกนำเสนอเมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมาในงาน ESC Congress 2018

การออกกำลังกายช่วยอาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังดีขึ้น

การออกกำลังกายแบบแอโรบิกเพียง 12 สัปดาห์ช่วยลดอาการและระดับความเมื่อยล้าในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังได้พบในการศึกษาของมหาวิทยาลัย Leicester ซึ่งนำโดย Professor Alice Smith จาก Leicester’s Hospitals และ University of Leicester Kidney Lifestyle Team

เพราะอะไร… “ออกกำลังกายขา” เล็กน้อยบนเตียงก็ลดเสี่ยงโรคหัวใจได้?

การที่เราไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกายในแต่ละวันนั้นอาจทำให้ระบบการขนส่งเลือดไปทั่วร่างกายนั้นด้อยประสิทธิภาพลงไป ซึ่งนั่นส่งผลให้เกิดความเสี่ยงปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือด