9 ผักช่วยเพิ่มน้ำนมให้คุณแม่
หัวใจสำคัญของคุณแม่หลังคลอด ควรกินอาหารครบ 5 หมู่ในแต่ละมื้อในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย และควรเลือกอาหารเพื่อเพิ่มปริมาณน้ำนม
หัวใจสำคัญของคุณแม่หลังคลอด ควรกินอาหารครบ 5 หมู่ในแต่ละมื้อในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย และควรเลือกอาหารเพื่อเพิ่มปริมาณน้ำนม
สร้างความกังวลให้เหล่าคุณแม่ท้องที่มีอายุมากได้ไม่น้อย จากกรณีโซเชียลมีเดียได้เผยแพร่เรื่องของ นักร้องลูกทุ่งรายหนึ่ง ที่ต้องสูญเสียลูกหลังจากภรรยาคลอดบุตรได้เพียง 40 นาที โดยทางโรงพยาบาลให้ข้อมูลว่าสาเหตุหลักน่าจะมาจากการที่มารดามีอายุค่อนข้างมาก คือ 41 ปี จึงทำให้ทารกมีความเสี่ยงสูง
“ภาวะครรภ์เสี่ยง” หมายถึง การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงซึ่งส่งผลกระทบต่อแม่และทารกในครรภ์ โดยอาจทำให้เกิดอันตรายหรือเสียชีวิตได้ทั้งในขณะตั้งครรภ์ คลอด หรือหลังคลอด เรียกว่าเป็นภาวะที่ไม่ว่าใครก็คงไม่อยากให้เกิดกับตัวเองหรือคนใกล้ชิด
คุณแม่มือใหม่ที่เพิ่งคลอดลูกในช่วงแรกๆ อาจยังรู้สึกเหนื่อยและอ่อนเพลีย เพราะต้องเลี้ยงลูกแถมยังต้องให้นมลูกอีก “อาหาร” จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยบำรุงร่างกาย และช่วยกระตุ้นการสร้างน้ำนมสำหรับทารกให้คุณแม่ได้ รวมถึงส่งผ่านสารอาหารต่างๆ ไปยังน้ำนมที่ลูกดื่ม ว่าแต่เมนูใดบ้างที่ดีต่อแม่และเบบี๋?
อาหารที่มีประโยชน์ย่อมส่งผลดีต่อสุขภาพ ตรงกันข้ามอาหารที่มีสารพิษแฝงอยู่ย่อมสะสมในร่างกายจนทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยขึ้นได้ ยิ่งหญิงตั้งครรภ์ด้วยแล้ว ไม่เพียงส่งผลต่อตัวคุณแม่ ยังอันตรายต่อทารกในครรภ์ รวมถึงทารกน้อยที่กินนมแม่อีกด้วย และนี่คือ ปลา 5 ชนิดที่หญิงท้อง-ให้นมบุตร ควรหลีกเลี่ยง!!
ลุ้นกันมาตั้งแต่แต่งงาน กระทั้งตั้งครรภ์ จนในที่สุดนางเอกและแฟชั่นนิสต้าอันดับต้นๆ ของเมืองไทย “ชมพู่ อารยา” ก็คลอดเบบี๋เป็นฝาแฝดชายที่มีชื่อสุดคูลว่า “ธันเดอร์-สตอร์ม” ให้เหล่าแฟนๆ ได้ปริ่มกันถ้วนหน้า
การตั้งครรภ์ย่อมส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกายหลายๆ ระบบ โดยเฉพาะระบบหัวใจและหลอดเลือด หญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือดอาจจะไม่สามารถทนต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้ทุกราย
เมื่อผู้หญิงตั้งท้องแล้ว ความเปลี่ยนแปลงของร่างกายย่อมเกิดขึ้น ทำให้มีความเสี่ยงต่อโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ สำหรับความเสี่ยงต่อภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินของคนเป็นแม่นั้น ขึ้นอยู่กับอายุและการดูแลร่างกายของแม่ ซึ่งตามปกติแม่ที่เริ่มมีอายุมากขึ้น จะมีภาวะเสี่ยงต่อโรคฉุกเฉินเพิ่มขึ้น อาทิ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดหัวใจ
ยุคนี้แทบจะเป็นเรื่องธรรมดาไปเสียแล้ว ที่ผู้หญิงต้องทำงานนอกบ้านไม่ต่างจากผู้ชาย ไม่เว้นแม้แต่เหล่าคุณแม่ท้อง และเพราะงานของแม่แต่ละท่านแตกต่างกัน เพื่อความปลอดภัยของเบบี๋ในท้องรวมถึงตัวคุณแม่เอง หากรู้สึกว่างานที่ทำอยู่มีความเสี่ยง สามารถขอนายจ้างเปลี่ยนงานได้ ซึ่งตรงนี้มีกฎหมายรับรองค่ะ
หลายคนเข้าใจผิดคิดว่าการที่ได้เห็นลูกน้อยลืมตาดูโลกจะทำให้หลังจากนั้นชีวิตของคุณแม่มือใหม่จะต้องเปี่ยมด้วยความสุขสดชื่น แท้จริงแล้วโรคซึมเศร้าหลังคลอด ถือเป็นเรื่องปกติที่พบบ่อยสำหรับผู้หญิงหลังคลอด ฉะนั้นการทำความเข้าใจและเตรียมพร้อมรับมือจึงเป็นเรื่องสำคัญสำหรับคุณแม่และคนใกล้ชิดค่ะ