Tag Archives: ทารก

2 ข้อควรปฏิบัติและ 2 ข้อห้ามในการดูแล “สะดือ” เบบี๋

หลังจากทารกคลอดออกมาแล้ว แพทย์จะตัดสายสะดือแล้วผูกไว้ ก่อนที่จะแห้งหลุดออกมา ในเด็กบางรายแม้สายสะดือจะหลุดแล้วแต่สะดือยังแฉะอยู่ เนื่องจากเส้นเลือดที่อยู่ในสายสะดือยังไม่แห้ง ทั้งนี้คุณแม่ไม่กล้าเช็ดสะดือเบบี๋ หรือดูแลทำความสะอาดด้วยวิธีที่ผิด ซึ่งความไม่รู้นี้อาจทำให้เกิดอันตรายแก่ทารกได้ค่ะ

สังเกต “ตา-หู-จมูก-ปาก-ลิ้น” ของเบบี๋… แบบไหนที่น่าเป็นห่วง!

“เด็กพัฒนาการล่าช้า” คือ เด็กที่มีพัฒนาการช้ากว่าลำดับขั้นพัฒนาการปกติตามช่วงอายุของเด็ก โดยที่เด็กอาจจะมีพัฒนาการล่าช้าด้านใดด้านหนึ่ง หลายด้าน หรือทุกด้านก็ได้ ทั้งนี้ เด็กพัฒนาการช้าสามารถสังเกตได้อาการผิดปกติของอวัยวะ ว่าแล้วเรามาสังเกต “ตา-หู-จมูก-ปาก-ลิ้น” ของเบบี๋กันค่ะ

วิธีการให้อาหารที่เหมาะสมตามวัยและพัฒนาการของทารก

“อาหาร” ถือเป็นสิ่งจำเป็นที่ร่างกายคนเราจะขาดไม่ได้ ยิ่งวัยทารกด้วยแล้ว ยิ่งต้องพิถีพิถันเป็นพิเศษ การให้อาหารที่เหมาะสมตามวัยสำหรับทารก จะช่วยเสริมพัฒนาการของเด็กเพื่อนำไปสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพ ฉะนั้น สิ่งที่พ่อแม่ควรใส่ใจคือ วิธีการให้อาหารที่เหมาะสมตามวัยและพัฒนาการของทารก

อาการที่บ่งบอกว่าเบบี๋มีแนวโน้มเป็น “เด็กออทิสติก”

ปัญหาของ “เด็กออทิสติก” ในปัจจุบัน คือ การส่งตัวเข้ารับการรักษายังไม่มากเท่าที่ควรหรือล่าช้าเกินไป เนื่องจากเด็กอาจไม่มีลักษณะผิดปกติให้เห็นเมื่อแรกเกิด และเจริญเติบโตเหมือนเด็กทั่วไป โดยมากจะเริ่มเห็นความผิดปกติตั้งแต่อายุ 1-2 ขวบ แต่ก็มีลักษณะบางประการที่บ่งชี้ว่าเบบี๋มีแนวโน้มเป็น “ออทิสติก”

การดูแลทารกแรกเกิดทั้งทางกายและใจ มีอะไรบ้าง?

ทารกที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 28 วัน ซึ่งเป็นช่วงที่มีการปรับตัวอย่างมาก จากสภาพแวดล้อมและจากบรรยากาศที่อบอุ่นในครรภ์มารดา ออกมาสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก จึงเป็นช่วงชีวิตที่ต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิดเป็นพิเศษ ฉะนั้น คุณพ่อคุณแม่ต้องใส่ใจดูแลเบบี๋ทั้งทางกายและใจค่ะ

รู้หรือไม่? 1,000 วันแรกของชีวิตสำคัญสุดต่อสมอง

เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เป็นช่วงอายุที่สำคัญที่สุด เด็กจะเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพ ต้องอาศัยพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู ที่ให้ความรัก ความเอาใจใส่ เลี้ยงดูอย่างใกล้ชิด เมื่อโฟกัสไปที่เรื่องสมองของเด็กนั้น ใน 1,000 วันแรกของชีวิตนับตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงสองขวบปีแรก ถือเป็นช่วงวัยทองของเด็กที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาสมอง!!

ปล่อยลูกหลับคาขวดนม ระวัง “ฟันผุ” ตั้งแต่อายุไม่ถึงขวบ

“ฟันผุ” เกิดจากแบคทีเรียบางชนิดที่อาศัยอยู่ในช่องปากผลิตกรดออกมาทำลายเคลือบฟัน และเดนทินหรือเนื้อฟัน พ่อแม่มือใหม่หลายคนมักมองข้ามการดูแลสุขภาพช่องปากให้เบบี๋ เพราะมองว่าเด็กอายุยังน้อย ไม่น่าเสี่ยงกับอาการฟันผุ ทั้งที่จริงแล้ว โรคฟันผุสามารถพบตั้งแต่อายุไม่ถึง 1 ขวบ จากหลากหลายสาเหตุ

รวมอาการผิดปกติของทารกแรกเกิดและการแก้ไข

“ทารกแรกเกิด” คือ ทารกที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 28 วัน ซึ่งเป็นช่วงที่มีการปรับตัวอย่างมาก จากสภาพแวดล้อมจากบรรยากาศที่อบอุ่นในครรภ์มารดา ออกมาสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก จึงเป็นช่วงที่ต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิดเป็นพิเศษ พ่อแม่ควรสังเกตอาการผิดปกติของเบบี๋ เพื่อแก้ไขก่อนสายเกินแก้นะคะ

ทริคเลือกอาหารให้เหมาะกับทารกแต่ละช่วงวัย

“อาหาร” เป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาและการเจริญเติบโตของร่างกายและสมอง การให้อาหารทารกให้ถูกต้อง เพียงพอ และเหมาะสมตามวัย ทั้งชนิดและปริมาณ จะช่วยให้ทารกมีการเจริญเติบโตดี และมีพัฒนาการที่ดี

ทำไงดี เมื่อทราบว่าเบบี๋เป็น “โรคพันธุกรรมแอลเอสดี”

จะไม่ให้พ่อแม่มือใหม่ตกอกตกใจได้อย่างไร เมื่อทารกน้อยที่ดูปกติเมื่อแรกเกิด ต่อมากลับมีหน้าตาเปลี่ยนไป ใบหน้าหยาบ ตัวเตี้ย ซีด พัฒนาการที่เคยปกติก็เสื่อมและถดถอยลง รวมถึงอาการภายใน อาทิ ตับม้ามโต หัวใจโต ปวดประดูก เหล่านี้บ่งบอกว่าเบบี๋ของคุณอาจป่วยด้วย “โรคพันธุกรรมแอลเอสดี”